วันอาทิตย์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

การใช้ so too either neither

ความแตกต่างหลักๆระหว่างการใช้คำว่า “so” กับ “too และ “either กับ “neither นั่นก็คือ “so กับ “too จะใช้ในประโยคบอกเล่า ในขณะที่ “either” กับ “neither” จะใช้กับประโยคปฏิเสธ
Let’s start with “so” and “too”. “So” and “too” are used when we agree to positive sentences and remember to take note of the word order. Examples,
เราลองมาดูการใช้คำว่า “so” กับ “too กันดีกว่า ทั้ง “so และ “too จะใช้เมื่อเราเห็นด้วยกับประโยคบอกเล่านั้นๆ และควรจำการเรียงลำดับคำให้ถูกต้องด้วย ตัวอย่างเช่น
             อัลเบิร์ตมีปัญหา ปีเตอร์ก็มีปัญหาด้วยเหมือนกัน หรือ ปีเตอร์ก็มี
What have you noticed with these examples? Well.
คุณสังเกตอะไรได้จากตัวอย่างเหล่านี้ เอาล่ะ ลองมาดูกันเลย
Too comes at the end of the sentence right after the auxiliary verb. While so comes at the start of the sentence before the auxiliary verb. Remember to use the correct auxiliary verb when you use too and so. If the speaker uses a modal then uses also modal if uses a be verb, uses a be verb. If uses an action verb and make sure that you use the correct 
            - Lily likes ice-cream. Clara does too. Or So does Clara.
          ลิลลี่ชอบกินไอศกรีม คลาร่าก็ชอบด้วยเหมือนกัน หรือ คลาร่าก็ชอบด้วย
            - Her sister can swim. My sister can too. Or So can my sister.
          น้องสาวของเธอว่ายน้ำเป็น น้องสาวของฉันก็ว่ายน้ำเป็นเหมือนกัน หรือ น้องสาวของฉันก็ด้วย
            - Jason is very polite. Fred is too. Or So is Fred.
             เจสันเป็นคนที่สุภาพมากๆ เฟรดก็สุภาพด้วยเช่นกัน หรือ เฟรดก็ด้วย
            - Albert has a problem. Peter has too. Or So has Peter.tense of the verb as well. Let’s try to look at some of the examples one more time.
คำว่า “too จะวางไว้ท้ายประโยค หลังกริยาช่วยเสมอ ในขณะที่ คำว่า “so” จะวางไว้หน้าประโยค หลังกริยาช่วยเสมอ เพื่อนๆควรจำวิธีการใช้กริยาช่วยให้ถูกต้องเมื่อจะใช้คำว่า “too กับ “so ถ้าผู้พูดใช้กริยาพิเศษในประโยคแต่แรก เวลาตอบก็ต้องใช้กริยาพิเศษตัวนั้นตอบ อย่างเช่น Verb to be (is, am, are, was, were) และรวมถึงกริยาแสดงอาการด้วย และต้องมั่นใจว่าเลือกใช้กริยานั้นๆได้ถูกต้องตามหลักแกรมม่า

รู้จักการใช้ causative form

รู้จักการใช้ Causative Form - have something done, have someone do

ในภาษาอังกฤษจะมีประโยคแบบพิเศษอยู่แบบหนึ่ง ซึ่งประธานของประโยคไม่ได้เป็นคนทำการกระทำนั้นด้วยตัวเอง แต่ให้บุคคลอื่นทำการกระทำต่างๆ ให้ตัวเอง เช่น หากเราจะไปตัดผม (โดยให้ช่างตัดผมตัดให้) เราจะไม่สามารถพูดว่า I will cut my hair. ได้ เพราะคนฟังจะเข้าใจผิดว่าเราจะทำการตัดผมของเราด้วยตัวเราเอง
นี่เป็นที่มาของการนำประโยค causative form มาใช้ ซึ่งมีหลักให้ท่องง่ายๆ คือ have something done และ have someone do something
1) have something done
ใช้บอกว่าประธานให้คนอื่นทำอะไรให้ แต่ไม่ได้บอกว่าบุคคลนั้นเป็นใคร เช่น
I will have the house renovated soon. (ฉันจะให้บุคคลอื่นปรับปรุงบ้านให้ใหม่เร็วๆ นี้)
He is having his car cleaned. (เขากำลังให้บุคคลอื่นล้างรถให้)
She had the broken windows fixed. (ในอดีตเธอได้ให้บุคคลอื่นซ่อมหน้าต่างที่พังให้)
* ใช้ get แทน have ได้ทั้งหมด
จะเห็นได้ว่ากริยาแท้ในประโยคเหล่านี้คือ have มันจึงสามารถถูกผันได้ ส่วน done ก็คือกริยาไม่แท้ในรูป past participle (ช่อง 3) ซึ่งจะคงรูปอยู่อย่างนี้ตลอด
2) have someone do something
ใช้บอกว่าประธานให้คนอื่นทำอะไรให้ โดยระบุว่าบุคคลนั้นเป็นใคร เช่น
I will have him renovate my house. (ฉันจะให้เขาปรับปรุงบ้านให้ใหม่)
He is having his friend clean his car. (เขากำลังให้เพื่อนของเขาล้างรถให้)
She had the maintenance staff fix the broken windows. (ในอดีตเธอได้ให้เจ้าหน้าที่ซ่อมแซมซ่อมหน้าต่างที่พังให้)
*ใช้ let แทน have ได้
*ใช้ make แทน have ได้แต่ความหมายจะกลายเป็นบังคับให้ใครทำอะไรให้
จะเห็นได้ว่ากริยาแท้ในประโยคเหล่านี้คือ have มันจึงสามารถถูกผันได้ ส่วน do ก็คือกริยาไม่แท้ในรูป infinitive (ช่อง 1) ซึ่งจะคงรูปอยู่อย่างนี้ตลอด
กริยาที่เหลือ ไม่ว่าจะเป็น command / ask / persuade / order / request / get หรือคำขอคำสั่งต่างๆ ต้องตามด้วย someone to do something เสมอ เช่น
I will get him to renovate my house.
He is ordering his friend to clean his car.
She asked the maintenance staff to fix the broken windows.

Direct and indirect speech

Direct Speech คือ การยกคำพูดจริงๆของผู้พูดทั้งหมดมาเล่าให้ฟังโดยไม่เปลี่ยนแปลง โดยอาศัยการนำคำพูดนั้นมาไว้อยู่ในเครื่องหมายคำพูด (Quotation Marks (“…”)) โดยมี comma (,) คั่นกลางระหว่างประโยคที่ยกมาพูดถึง และ ประโยคหลัก โดยประธานที่อยู่ในเครื่องหมายคำพูดจะต้องเป็นตัวใหญ่เสมอ เช่น
 
He said, “I will clean the house.”
 
หมายเหตุ ประโยค Direct Speech สามารถทำได้อีกรูปแบบ โดยไม่ได้สร้างความหมายที่ต่างกันแต่อย่างใด โดยเราสามารถทำได้โดยการนำ คำพูดนั้นมาไว้อยู่ในเครื่องหมายคำพูด (Quotation Marks (“…”)) มาไว้ที่ต้นประโยค เช่น
 
“My name is Mike”, he said.

Indirect Speech (Reported Speech) 
คือ การนำคำพูดมารายงานให้ผู้อื่นฟัง หรือ การดัดแปลงคำพูดมาให้เป็นคำพูดของผู้เล่านั่นเอง เช่น
He said he would clean the house.
 
ประโยค Indirect Speech แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทด้วยกัน
 
1. Indirect Speech - Statement หรือ ประโยคบอกเล่า หรือ ปฏิเสธ ในรูปแบบของ Indirect Speech อ่านต่อที่นี่
 
2. Indirect Speech – Commands, Requests or Suggestions หรือ ประโยคคำสั่ง ขอ ร้อง หรือ ขออนุญาตในรูปแบบของ Indirect Speech อ่านต่อที่นี่

3. Indirect Speech - Question หรือ ประโยคคำถามในรูปแบบของ Indirect Speech อ่านต่อที่นี่
 
ตารางการเปลี่ยน Tense ใน Indirect Speech
 
Direct Speech
Indirect Speech
Present simple Tense
Past simple Tense
Present continuous Tense
Past continuous Tense
Past simple Tense
Past perfect Tense
Past Continuous Tense
Past Perfect Continuous Tense
Present perfect Tense
Past perfect Tense
Future simple Tense (will)
Future in past forms Tense (would)
Can
Could
May
Might
Shall
Should
Must
Had to
คำระบุเวลาที่ต้องเปลี่ยนรูปใน Indirect Speech
Direct Speech
Indirect Speech
ago
before, earlier
a year/month ago
a year/month before, the previous year/month
last… (night/week/moth/year)
the…before, the previous…
next… (night/week/moth/year)
the following…, the…after
now
then, at that time
the day before yesterday
two days before
the day after tomorrow
Later in two days time, two days late
today
that day
tomorrow
the following day, the next day
tonight
that night
yesterday
the day before, the previous day
คำที่ต้องเปลี่ยนจาก ใกล้ ให้เป็น ไกล ใน Indirect Speech
Direct Speech
Indirect Speech
here
there
these
those
this
that

วันอาทิตย์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2558

Phrasal Verbs

         Phrasal Verbs คือ กริยาที่ประกอบด้วยส่วนที่เป็นกริยา ( verb ) และคำอื่น ( มักเป็นคำบุพบท ) เมื่อรวมกันแล้วความหมายมักเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เช่น give up , get up
Inseparable Verbs with no objects
คือ phrasal verb ที่ต้องติดกัน ไม่สามารถแยกจากกันได้ ไม่ต้องมีกรรม เช่น อ่านเพิ่มเติม